ข้อมูลส่วนตัว
- ชื่อ-สกุล : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วศิน ยุวนะเตมีย์
- ที่อยู่ปัจจุบัน : เลขที่ ๗ หมู่ ๖ ตำบลคลองน้ำเค็ม อำเภอแหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี ๒๒๑๙๐
- โทรศัพท์มือถือ : ๐๘-๑๘๖๔-๙๒๒๘
- E-mail: vasin@buu.ac.th, vasin@go.buu.ac.th
การศึกษา
- พ.ศ. ๒๕๕๒ : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. ๒๕๔๑ : วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) สาขาวิชาวาริชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
- พ.ศ. ๒๕๓๑ : วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวาริชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตบางแสน
ประวัติการทำงาน
- พ.ศ. ๒๕๓๑ – ผู้ช่วยวิจัยโครงการอาเซี่ยนออสเตรเลีย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- พ.ศ. ๒๕๓๗ – อาจารย์พิเศษ ภาควิชาเกษตรศาสตร์ คณะเกษตรอุตสาหกรรม สถาบันราชภัฎรำไพพรรณี
- พ.ศ. ๒๕๓๙ - นักวิทยาศาสตร์ สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา
- พ.ศ. ๒๕๔๑ - อาจารย์ระดับ ๔ คณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสารสนเทศจันทบุรี
- พ.ศ. ๒๕๔๓ - อาจารย์ระดับ ๕ คณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสารสนเทศจันทบุรี
- พ.ศ. ๒๕๔๕ - อาจารย์ระดับ ๖ คณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสารสนเทศจันทบุรี
- พ.ศ. ๒๕๔๗ - อาจารย์ระดับ ๗ คณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสารสนเทศจันทบุรี
- พ.ศ. ๒๕๕๐ - อาจารย์พิเศษแลกเปลี่ยนภายใต้ความร่วมมือกับ Wenzhou Medical College มลฑลเจอร์เจียง สาธารณรัฐประชาชนจีน
- พ.ศ. ๒๕๕๐ - หัวหน้าโครงการศูนย์เพิ่มจำนวนพ่อแม่พันธุ์กุ้งกุลาดำ มหาวิทยาลัยบูรพา
- พ.ศ. ๒๕๕๐ ถึงปัจจุบัน - อาจารย์ คณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี
- พ.ศ. ๒๕๖๑ - ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม)
ประวัติการทำงานตำแหน่งบริหาร
- พ.ศ. ๒๕๔๑
- ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิต วิทยาเขตสารสนเทศจันทบุรี และรักษาราชการแทนรองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะเทคโนโลยีทางทะเล - พ.ศ. ๒๕๔๕
- ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายบริหาร วิทยาเขตสารสนเทศจันทบุรี - พ.ศ. ๒๕๕๑
- ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตสารสนเทศจันทบุรี และผู้รักษาราชการแทนคณบดีคณะเทคโนโลยีทางทะเล
- คณบดีคณะเทคโนโลยีทางทะเล และผู้รักษาราชการแทนผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตสารสนเทศจันทบุรี มหาวิทยาลัยบูรพา - พ.ศ. ๒๕๕๒
- คณบดีคณะเทคโนโลยีทางทะเล และรักษาราชการแทนผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตจันทบุรี มหาวิทยาลัยบูรพา - พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๖
- คณบดีคณะเทคโนโลยีทางทะเล และผู้รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตจันทบุรี มหาวิทยาลัยบูรพา - พ.ศ. ๒๕๕๗
- คณะกรรมการบริหารงานบุคคลมหาวิทยาลัยบูรพา ประเภทหัวหน้าส่วนงาน
- คณะกรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยบูรพา ผู้แทนคณบดีกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (แทนตำแหน่งที่ว่าง) - พ.ศ. ๒๕๕๘
- คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย ประเภทผู้แทนหัวหน้าส่วนงาน - พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙
- คณบดีคณะเทคโนโลยีทางทะเล และผู้รักษาการแทนรองอธิการบดี มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี - พ.ศ. ๒๕๕๙ – ปัจจุบัน
- คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี - พ.ศ. ๒๕๖๑
-กรรมการบริหารงานบุคคลมหาวิทยาลับูรพา ประเภทหัวหน้าส่วนงาน - พ.ศ. ๒๕๖๒
- ผู้รักษาการแทนผู้อำนวยการสำนักพัฒนานวัตกรรม
- คณะกรรมการบริหารการเงินและทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยบูรพา ประเภทหัวหน้าส่วนงาน - พ.ศ. ๒๕๖๒-ปัจจุบัน
- ผู้รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตจันทบุรี มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี - พ.ศ. ๒๕๖๓-ปัจจุบัน
- คณะกรรมการบริหารงานบุคคลมหาวิทยาลัยบูรพา ประเภทหัวหน้าส่วนงาน
- คณะกรรมการบริหารการเงินและทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยบูรพา ประเภทหัวหน้าส่วนงาน - พ.ศ. ๒๕๖๔-ปัจจุบัน
- ประธานคณะกรรมการประจำสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
- คณะกรรมการประจำคณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประเภทผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกส่วนงาน - พ.ศ. ๒๕๖๕-ปัจจุบัน
- คณะกรรมการสภาวิชาการ ประเภทผู้แทนคณบดี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- คณะกรรมการประจำคณะดนตรีและการแสดง
สาขาวิชาการที่มีความเชี่ยวชาญ/ความชำนาญพิเศษ
- การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
- การสร้าง และการบริหารจัดการฟาร์มสัตว์น้ำ
- นิเวศวิทยาทางทะเล
- การจัดการสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางทะเล
- การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
ผลงานทางวิชาการและการวิจัย
ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติและระดับชาติที่มีกรรมการตรวจสอบ
- Yuvanatemiya, V., and Boyd, C.E. (2006). Physical and chemical changes in aquaculture pond bottom soil resulting from sediment removal. Aquaculture Engineering. 35: 199-205
- Klinbunga, S., Sittikankeaw, K., Yuvanatemiya, V., Preechaphol, R., Yamano,K., and Menasveta, P. (2009). Molecular Cloning and Expression Analysis of Ovary-Specific Transcript 1 (Pm-OST1) of the Giant Tiger Shrimp, Penaeus monodon. Zool. Sci. 26: 783–790.
- Klinbunga, S., Yuvanatemiya, V., Wongpayak, S., Khetpu, K., Menasveta, S. and Khamnamtong, B. (2010). Genetic population differentiation of the blue swimming crab Portunus pelagicus (Portunidae) in Thai water revealed by RAPD analysis. Genet. Mol.Res. 9(3): 1615–1624.
- Klinbunga, S., Thamniemdee, N., Yuvanatemiya, V., Khetpu, K., hamnamtong,B. and Menasveta, S. (2010). Species identification of the blue swimming crab (Portunus pelagicus) in Thai waters using mtDNA and RAPD-derived SCAR markers. Aquaculture 308: S39–S46.
- Yuvanatemiya, V., Boyd, C. E., and Thavipoke, P. (2011) .Pond Bottom Management at Commercial Shrimp Farms in Chantaburi Province, Thailand. Journal of the World Aquaculture Society. 42(5): 618–632.
- ชลี ไพบูลย์กิจกุล, นภาพร เลียดประถม, วศิน ยุวนะเตมีย์, บัญชา นิลเกิด และ บัลลังก์ เนื่องแสง. (2548). การพัฒนาระบบหมุนเวียนน้ำแบบปิดด้วยการใช้สาหร่ายเม็ดพริกไทย Caulerpa sp. และวัสดุเพิ่มพื้นที่ผิวในการบำบัดคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงกุ้งกลุาดำ Penaeus monodon. การประชุมวิชาการสาหร่ายและแพลงก์ตอนแห่งชาติ ครั้งที่ 2, 23-25 มีนาคม 2548, โรงแรมฮอลิเดย์การ์เดน, เชียงใหม่.
- ชลี ไพบูลย์กิจกุล, บัลลังก์ เนื่องแสง, บัญชา นิลเกิด, วศิน ยุวนะเตมีย์ และ เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล (2550). ผลการใช้กล้วยเป็นแหล่งคาร์โบไฮเดรตและสารเหนียวในอาหารกุ้งกุลาดำ. แก่นเกษตร. 35: 215-226.
- Chen, X., Sonchaeng, P., Yuvanatemiya, V., Nuangsaeng, B., Ai, W. (2014). Complete mitochondrial genome of the whitetip reef shark Triaenodon obesus (Carcharhiniformes: Carcharhinidae). Mitochondrial DNA, Part A, 27:2, 947-948, DOI: 10.3109/19401736.2014.926499
- มะลิวัลย์ คุตะโค, ศิริพร คำทองดี, ภควรรณ เศรษฐมงคล, เมธินี จามกระโทก และวศิน ยุวนะเตมีย์. 2557. ผลของธาตุอาหารต่อการเติบโตของไดอะตอม Chaetoceros sp. ในนํ้าเลี้ยงไดอะตอมที่นํากลับมาใช้ใหม่. วารสารวิจัยเทคโนโลยีการประมง 8(1): 74-83
- Chomphuthawach S., T. Samosorn, J. Juntaban, B. Nuangsaeng, R. Preechaphol, V. Yuvanatemiya, S. Nimrat and V. Vuthiphandchai. 2015. Evaluation of Morphological and Ultrastructural Changes of Black Tiger Shrimp (Penaeus Monodon) Spermatophore. IOSR Journal of Environmental Science, Toxicology and Food Technology. 9(7): 34-40. e-ISSN: 2319-2402
- วรวรรณ สังแก้ว, วศิน ยุวนะเตมีย์ และคณิสร ล้อมเมตตา. 2559. การพัฒนาการผลิต กระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษจากไส้กกร่วมกับการใช้สีย้อมธรรมชาติ. วารสารวิจัยรำไพพรรณี 10(4): 5-13.
- Teevasuthonsakul C.*, V. Yuvanatheeme, V. Sriput and S. Suwandecha.2017. Design Steps for Physic STEM Education Learning in Secondary School. Journal of Physics: Conf. Series 901 012118 DOI :10.1088/1742-6596/901/1/012118
- วศิน ยุวนะเตมีย์, อุษา เฉียงเหนือ, ธีรศักดิ์ สโมสร และ รชนิมุข หิรัญสัจจาเลิศ. (2560). การใช้ไส้เดือนดินเป็นอาหารสำหรับแม่พันธุ์กุ้งกุลาดำ Penaeus monodon จากบ่อดิน. วารสารวิจัยเทคโนโลยีการประมง. 11 (1): 1-13.
- วศิน ยุวนะเตมีย์, สุมิตร คุณเจตน์, ไพฑูรย์ ศรีนิล, วีรชัย สุวรรณสาร และ วิโรจน์ ละอองมณี.2561. การศึกษาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรของจังหวัดจันทบุรีโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์. แก่นเกษตร 46 (ฉบับพิเศษ 1): 866- 872
- ศรีภาพรรณ ธาระนารถ, บัลลังก์ เนื่องแสง, วศิน ยุวนะเตมีย์ และ รชนิมุข หิรัญสัจจาเลิศ. (2563). การศึกษาขนาดและรูปแบบของโปรตีนไวเทลลินในแม่พันธุ์กุ้งกุลาดำที่ได้รับอาหารผสมฮอร์โมน 17 เบต้า-เอสตราไดออล. วารสารวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี. 17 (1): 11-23.
- ทัตพล พุ่มดารา, ปัทมา ศรีน้ำเงิน, วศิน ยุวนะเตมีย์. (2563). การศึกษาปริมาณอินทรีย์คาร์บอนที่สะสมในดินและชายฝั่งทะเลบริเวณที่มีการเจริญเติบโตของหญ้าทะเล. นเรศวรวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 16 NU Research Foresight: Beyond 30 years. 237
- สุพัตรา สีละ, วศิน ยุวนะเตมีย์ และปัทมา ศรีน้ำเงิน*. (2564). การศึกษาการเกิด DNA Methylation ที่เกิดจากการกระตุ้นด้วยโลหะหนักตะกั่วของหญ้าคาทะเล Enhalus acoroides. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 12” วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจวิถีใหม่ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ วันที่ 16-17 กันยายน 2564 (หมายเหตุ: ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การนำเสนอภาคบรรยาย)
- ปัทมา ศรีน้ำเงิน*, ณัฐริตา นาคพิมาย และวศิน ยุวนะเตมีย์. (2565). การศึกษาความแปรปรวนทางพันธุกรรมของ Enhalus acoroides ในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกโดยใช้เทคนิค SSR. ในการประชุมวิชาการนวัตกรรม การเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ ครั้งที่ 1 ขึ้น ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ระหว่างวันที่ 18-19 สิงหาคม 2565.
- Hiransuchalert, R., Poarsa, C., Pongpeela, T., Yuvanatemiya, V. and Nuangsaengm,B. (2022). First description for ovarian maturation induction of female Harpiosquilla raphidea broodstock in individual containers within a recirculating aquaculture system. Aquaculture Reports. 27:101364.
- Yuvanatemiya, V., Srean, P., Kwanhian Klangbud, W., Venkatachalam, K., Wongsa, J., Parametthanuwat, T. & Charoenphun, N. (2022). A review of the influence of various extraction techniques and the biological effects of the xanthones from mangosteen (Garcinia mangostana L.) pericarps. Molecules, 27, 8775.
- Pattharaporn Thongnim, Vasin Yuvanatemiya, Ploypailin Yodkham , Porawee Chotpitaya-sunon, An EM algorithm for Gaussian Mixture Linear Regression with employment and carbon dioxide emissions data, The International Conference on Applied Statistics (ICAS 2022) “Data- Driven Statistics and Innovation.” November 2022, Bangkok, Thailand
ผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (International Proceedings)
- Wiboonsupapon, C., Nuangsaeng, B., Leadprathom, N. & Yuvanatemiya, V. (2012). Effects of paraquat on translocation of melanophores on scale of the white seabass (Lates calcarifer). Burapha University International Conference, 2012. Pattaya, Chonburi, Thailand.9-11 July, 2012. (Poster presentation).
ผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการระดับชาติ (National Proceedings and Conferences)
- บัลลังก์ เนื่องแสง, ธนาธิป มณฑล และ วศิน ยุวนะเตมีย์. (2559). ปริมาณและคุณภาพของไข่และนอเพลียสของกุ้งขาวแวนนาไมที่เลี้ยงจากบ่อดินช่วงอายุต่างกันโดยการเพาะพันธุ์ด้วยวิธีไม่ตัดก้านตา. งานประชุมวิชาการประมงระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐. ๒๙ กุมภาพันธ์ - ๑ มีนาคม ๒๕๕๙. คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ, มหาวิทยาลัยแม่โจ้. เชียงใหม่.
- วศิน ยุวนะเตมีย์, บัลลังก์ เนื่องแสง, รชนิมุข หิรัญสัจจาเลิศ และ ธีระศักดิ์ สโมสร. (2555). ศูนย์เพิ่มจำนวนพ่อแม่พันธุ์กุ้งกุลาดำ: หน่วยผลิตพันธุ์กุ้งทะเลสำหรับการเรียนการสอนและการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์. การประชุมวิชาการการเลี้ยงและการใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ ๒. ๒๙-๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๕. ศูนย์ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์, กรุงเทพฯ.
- ชลี ไพบูลย์กิจกุล, นภาพร เลียดประถม, วศิน ยุวนะเตมีย์, บัญชา นิลเกิด และ บัลลังก์ เนื่องแสง.(2548). การพัฒนาระบบหมุนเวียนน้ำแบบปิดด้วยการใช้สาหร่ายเม็ดพริกไทย Caulerpa sp. และวัสดุเพิ่มพื้นที่ผิวในการบำบัดคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงกุ้งกลุาดำ Penaeus monodon. การประชุมวิชาการสาหร่ายและแพลงก์ตอนแห่งชาติ ครั้งที่ ๒, ๒๓-๒๕ มีนาคม ๒๕๔๘, โรงแรมฮอลิเดย์การ์เดน, เชียงใหม่.
ผลงานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัย
- วศิน ยุวนะเตมีย์, บัลลังก์ เนื่องแสง, รชนิมุข หิรัญสัจจาเลิศ, มลฤดี สนธิ, ศรีภาพรรณ ธาระนารถ และธีระศักดิ์ สโมสร การปรับปรุงสายพันธุ์และการเพิ่มผลผลิตพ่อแม่พันธุ์กุ้งทะเลที่เลี้ยงจากบ่อดินในระบบความปลอดภัยทางชีวภาพเพื่อการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลอย่างยั่งยืน. ทุนอุดหนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี ๒๕๕๙.
โครงการวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัย
- ปัทมา ศรีน้ำเงิน, วศิน ยุวนะเตมีย์, เพชรดา ปินใจ และสนธิชัย จันทรเปรม การศึกษาบทบาทของคาร์บอนสีน้ำเงินในหญ้าทะเลบริเวณชายฝั่งตะวันออกของประเทศไทย.ทุนอุดหนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ – ๒๕๖๑.
รางวัลที่ได้รับ
- พ.ศ. ๒๕๕๕
- ศิษย์เก่าดีเด่น มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปี ๒๕๕๕
- ผู้ทำคุณประโยชน์ทางด้านการศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการ สกสค.ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๕
- บุคคลตัวอย่างแห่งปี ประจำปี ๒๕๕๕ จากมูลนิธิเพื่อสังคมไทย
- ศิษย์เก่าดีเด่นบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๕
- ศิษย์เก่าดีเด่นคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ ประเภทบริหาร ประจำปี ๒๕๕๕ - พ.ศ. ๒๕๕๖
- นักบริหารดีเด่นแห่งปี ประจำปี ๒๕๕๖ สาขาบริหารและพัฒนา การศึกษาจากมูลนิธิเพื่อสังคมไทย - พ.ศ. ๒๕๕๖
- ผู้บริหารแห่งปี ๒๕๕๖ จากสมัชชานักจัดรายงานวิทยุโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย
- พ่อดีเด่นแห่งปี ประจำปี ๒๕๕๖ จากโครงการเฉลิมพระเกียรติองค์ ราชัน “รัฐ ราษฎร์ รวมใจภักดิ์ รักสามัคคี ถวายความดี เพื่อพ่อหลวง” - พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๐
- กรรมการหอการค้าดีเด่น ประจำปี ๒๕๕๙ – ๒๕๖๐ - พ.ศ. ๒๕๖๓
- ครูดีศรีจันทบูร ประจำปี ๒๕๖๓ จากสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดจันทบุรี - พ.ศ. ๒๕๖๔
- “รัตนบูรพา” ประจำปี ๒๕๖๔ สาขาคนดีศรีบูรพา